ภาษีอีเพย์เมนต์เริ่มใช้เมื่อไร บังคับยังไง? มีอะไรต้องรู้บ้าง
พี่หนอมครับ/คะ พอดีว่าอยากรู้เรื่องของภาษีอีเพย์เมนต์เยอะแยะเลย ตั้งแต่ ภาษีอีเพย์เม้นต์ เริ่มใช้เมื่อไร เก็บภาษีจริงไหม ถ้าโอนเงินเกิน 8 ครั้งต่อวันจะเป็นอะไรหรือเปล่า มันเกี่ยวกับ 3,000 ครั้ง กับ 400 ครั้งและ 2 ล้านบาทไหม? และคำถามอื่นๆอีกมากมายที่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ครับ
1. ภาษีอีเพย์เมนต์คืออะไร?
ตอบ : ไม่มีกฎหมายชื่อภาษีอีเพย์เมนต์นะครับ มีแต่กฎหมายแก้ไขประมวลรัษฏากร ให้สถาบันการเงินส่งข้อมูลบัญชีธนาคารที่เข้าเงื่อนไข (เรียกว่า ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ) ให้กับกรมสรรพากร
2. กฎหมายฉบับนี้ กำหนดอะไรยังไง?
ตอบ : กำหนดให้ธนาคาร สถาบันการเงิน และผู้ให้บริการอิเล็กทรอนิ
ถ้าบุคคลใดๆ มียอดเงินเข้าบัญชีทุกบัญชี
? ยอดเงินเข้าบัญชี "ตั้งแต่" 3,000 ครั้งขึ้นไป ไม่สนใจจำนวนเงิน
? ยอดเงินเข้าบัญชี "ตั้งแต่" 400 ครั้งขึ้นไป และยอดรวม 2 ล้าน
โดยคำว่า ยอดเงินเข้าบัญชี ถ้าตีความตามกฎหมาย คำว่า “ฝากหรือรับโอนเงิน” จะหมายความว่ารวมรายการเข้า
1. ยอดเงิน/
2. โอนเงินเข้าบัญชีตัวเอง ต่างธนาคารหรือธนาคารเดียวก
3. ฝากเงินเข้าบัญชีผ่านเคาน์เ
4. โอนเข้าบัญชีแบบ Auto Transfer / Online / Ibanking ก็นับ
5. ฝากเงินเปิดบัญชีครั้งแรก ก็ยังนับด้วย
อย่าลืมว่า แต่ละธนาคารรับผิดชอบเฉพาะข
ซึ่งข้อมูลที่ธนาคารส่งให้สรรพา
(1) บัตรประชาชน ชื่อ นามสกุล
(2) เลขที่บัญชีเงินฝากที่เกี่ย
(3) จำนวนครั้ง
(4) จำนวนเงินรวมทั้งหมด
และที่สำคัญ ข้อมูลทั้งหมดนี้ส่งเป็นราย
3. ภาษีอีเพย์เมนต์เริ่มบังคับใช้เมื่อไร?
ตอบ : กฎหมายกำหนดว่าเริ่มตั้งแต่ปี 2562 ส่งครั้งแรกให้สรรพากรภายใน
โดยหลักการแล้วกฎหมายจะไม่ม
ถ้าลองวิเคราะห์ดูจากแนวโน้
มาถึงตรงนี้ ประเด็นสำคัญที่เราจะเชื่อม
ถ้าหากลองนับวันตามกฎหมาย แล้วจะพบว่า ตอนช่วงต้นเดือนตุลาคม (ณ วันที่เขียนบทความนี้) ยังไม่มีกฎหมายออกมาเลยด้วย
จะเห็นว่าโอกาสสำคัญที่จะตอ
4. ถ้าไม่เคยทำบัญชีรายรับรายจ่าย ไม่เก็บหลักฐานเลย ทำยังไงดี
ตอบ : กลับไปทำให้ถูกต้อง หลักการสำคัญที่สุดของเรื่องนี้ไ่ม่ใช่การถูกส่งข้อมูลให้สรรพากร แต่คือเรามีข้อมูลถูกต้องในการนำส่งภาษีหรือพิสูจน์ตัวเองหรือไม่?
5. ผมจะถูกตรวจสอบภาษีไหม โพสรูปบ่อย ๆสลิปปลอม สร้างหลักฐานความน่าเชื่อถือแบบนี้ถูกไหม สรรพากรจะรู้หรือเปล่า?
ตอบ : ทุกอย่างเกิดตามหลักการของข้อเท็จจริง การสร้างรายการปลอมมีผลต่อความน่าเชื่อถือของร้าน แต่หลักฐานทุกอย่างก็ต้องว่าไปตามข้อเท็จจริง แต่โดยหลักการแล้วเราไม่ควรหลอกลวงลูกค้า
6. ทำแฟนเพจบ่อยๆ อัพเดททุกวันแบบนี้สรรพากรจะคิดว่าเราขายดีใช่ไหม การโพสรูปสินค้ามากๆ มีผลต่อการตรวจสอบของสรรพากรมั้ยคะ เนื่องจากไม่มีหน้าร้าน เลยพยายามลงรูปสินค้าและบริการที่ลูกค้าได้ซื้อไปมาลงตามโซเชียลบ่อยๆ เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือค่ะ มันควรทำไหม?
ตอบ : สามารถทำได้ตามปกติเลยครับ หากทุกอย่างอยู่บนพื้นฐานของข้อเท็จจริง และข้อมูลที่เรามี
7. คุณหนอมคิดว่ากฎหมายฉบับนี้แฟร์ไหม เก็บข้อมูลเรายังไง เราจะต้องทำยังไงบ้างเพื่อป้องกัน ?
ตอบ : ใช้ชีวิตตามปกติไปครับ เน้นสำคัญตรงที่การเก็บข้อมูลให้ถูกต้องดีกว่า เพราะไม่ว่ากฎหมายจะแฟร์หรือไม่แฟร์ สิ่งที่เราต้องทำความเข้าใจก็คือกฎหมาย ต่อให้เราบ่นว่าไม่แฟร์ไป ก็ไม่ได้แปลว่ากฎหมายฉบับนี้จะยกเลิกให้
บทสรุปสุดท้าย ณ วันนี้ พรี่หนอมได้ยินหลายคนบอกว่าดีใจที่กฎหมายย
เพราะว่าการที่เราไม่ได้เตรียมตัว มัวแต่ดีใจว่ากฎหมายไม่ใช้ป
ไม่ว่ากฎหมายจะเป็นอย่างไร
เราไม่ควรชะล่าใจจนลืมเตรียมความพร้อมให้กับตัวเองน ะครับ