หลายวันก่อน พรี่หนอมได้อ่านหนังสือ Your Money or Your Life หรือแปลไทยว่า เงินหรือชีวิต โดยสำนักพิมพ์#Openbooks มาครับ
หนังสือเล่มนี้ค่อนข้างหนา และว่าด้วยแนวทาง 9 ขั้นตอนสู่การสร้างชีวิตใหม
ใครสนใจลองหาอ่านกันดูครับ มีหลายเรื่องที่น่าสนใจให้เ
แน่นอนว่ามาถึงตรงนี้ ต้องมีคนคิดในใจว่า
"ทำไมเราถึงไม่เลือกทั้งสอง
ลองเก็บคำถามนี้ไว้ก่อนนะคร
---
ประเด็นที่ผมชอบที่สุดในหนั
ถ้าคิดแบบง่าย ๆ สมมติเราได้เงินเดือน 60,000 บาทต่อเดือน ทำงานเดือนละ 20 วัน ปกติมันก็ควรจะเป็น 3,000 บาทต่อวันใช่ไหมครับ
หนังสือเล่มนี้ไม่ได้บอกแบบ
ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราทำงานเดือนละ 20 วันเหมือนเดิมนี่แหละ แต่จริงๆแล้วเราต้องเดินทาง
ดังนั้นถ้าคิดกลับมาแล้ว 3,000 บาทต่อวัน อาจจะเหลือเพียงแค่ 1,000 บาทต่อวันก็ได้ หลังจากหักต้นทุนทั้งหมดที่
นั่นแปลว่าถ้าเราหางานที่มี
เพียงแต่เรากล้าพอที่จะรับค
---
กลับมาที่คำถามแรก คือ ทำไมเราไม่เลือกทั้งสองอย่า
แต่ประเด็นคือ เรารู้หรือยังว่าต้นทุนที่เ
ถ้าตอบคำถามนี้ไม่ได้ การบอกง่ายๆว่าจะเอาทั้งสอง
---
สุดท้ายแล้ว เราควรเลือก "เงิน" หรือ "ชีวิต" นี่คือคำถามที่ผมตั้งขึ้นมา
ซึ่งจริงๆความหมายของชีวิตท
แต่อีกทางหนึ่ง ผมดันคิดขึ้นมาได้ว่า คนที่เลือก "เงิน" นั้นก็คงไม่ใช่เรื่องผิดเท่
เพียงแต่เราต้องเข้าใจว่าเร
เพราะไม่ว่าเขาจะเลือกอะไร
ชีวิตของเขา มันก็เป็นของเขาอยู่ดี
TaxBugnoms

เงิน หรือ ชีวิต ทำไมต้องเลือก?

Related Story
“ถ้ารู้ตั้งแต่ตอนนั้น วันนี้สบายไปแล้ว” (Work-Live-Balance ) หนังสือการเงิน-การใช้ชีวิตสำหรับคนรุ่นใหม่จาก TaxBugnoms
เรื่องราวประสบการณ์การทำงานอันโลดโผนของพรี่หนอม เลยอยากให้เขียนหนังสือในคอนเซปต์ที่ว่า “หากต้องแนะนำคนรุ่นใหม่อยากบอกอะไร?”
สรุปประเด็น ! เงินเฟ้อชะลอลง เศรษฐกิจโลกยังเสี่ยงไหม ลงทุนอย่างไรดี ?
เนื้อหาส่วนนี้สรุปจากคลิปของ KRUNGSRI EXCLUSIVE ทางช่อง Krungsri simple ในหัวข้อ “เศรษฐกิจไทย เศรษฐกิจโลก ว่าควรลงทุนอย่างไรดี” จากคุณวิน พรหมแพทย์, CFA ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหารสายงานลูกค้า ไฮเน็ตเวิร์ธ ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) และคุณเผดิมภพ สงเคราะห์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทหลักทรัพย์ กรุงศรี จำกัด
ลดหย่อนภาษีในแต่ละปี ต้องมองที่ความยั่งยืนระยะยาว
สิ่งหนึ่งที่ผมได้ยินเสมอตอนช่วงปลายปี คือ “เข้าสู่ช่วงลดหย่อนภาษีประจำปีอีกแล้ว คงต้องวางแผนลดหย่อนภาษี” ซึ่งแน่นอนว่าตัวเลือกที่หลายคนนึกถึงคงหนีไม่พ้น คือ กองทุนที่ตอบโจทย์เป้าหมายการเงินของเรา อย่างกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และ กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) ที่แต่ละคนเลือกใช้เพื่อวางแผนลดภาษีไปพร้อมกับเป้าหมายการเงินที่มี