Latest Posts
‘เก็บเงินอย่างไร ให้พอสำหรับวัยเกษียณ’ รวม 4 แนวทางการบริหารเงิน พร้อมรับมือกับชีวิตใน ‘สังคมผู้สูงอายุ’
ในวันนี้ไทยเรากำลังเดินหน้าเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างเต็มตัว เรื่อง ‘การวางแผนเพื่อยามเกษียณ’ จึงกลายเป็นเรื่องที่คนไม่น้อยให้ความสำคัญมากขึ้น โดยข้อมูลจากเว็บไซด์มิเตอร์ประเทศไทย รายงานว่า ประชากรประเทศไทยมีจำนวน 66,214,465 คน ในจำนวนนี้ประชากรสูงอายุที่มีอายุเกิน 60 ปี จำนวน 13,316,212 คน คิดเป็น 20.11% และหากดูจำนวนประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไป มีจำนวน 8,890,840 คน คิดเป็น 13.42% หมายความว่า โครงสร้างประชากรไทยอยู่ในช่วง Aged Society ระดับสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์
รวม 5 ความเสี่ยงที่คนเก็บเงินหลังเกษียณต้องรู้ เพื่อเก็บเงินให้พอ ดีกว่า ‘เงินหมดแล้ว แต่ยังไม่ตาย’
“น่าเสียดายตายแล้ว ยังใช้เงินไม่หมด น่าสลดเงินหมดแล้ว ยังไม่ตาย” หลายคนคงเคยได้ยินประโยคดังกล่าว และก็คงไม่มีใครอยากให้คำพูดนี้เกิดขึ้นกับตัวเอง หรือคนที่เรารัก และเพื่อไม่ให้เงินที่ตั้งใจเก็บเพื่อไว้ใช้หลังเกษียณหมดก่อนถึงวันสุดท้ายของชีวิต ต้องเตรียมตัวรับมือก่อนที่เหตุการณ์ร้ายจะเกิดขึ้น
‘สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์’ ทำให้คนชรามีแนวโน้มต้องดูแลตัวเอง เปิด 3 เช็กลิสต์ สู่การ ‘เกษียณอย่างเกษม’ พร้อมเงินใช้ไม่ขาดมือ
ปัจจุบันประเทศไทยกำลังเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ จากนิยามขององค์การสหประชาชาติให้นิยามว่าหมายถึงสังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปเกินกว่า 20% ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไปเกินกว่า 14% ของจำนวนประชากรทั้งประเทศ
มี PVD แล้ว RMF ยังสำคัญไหม? เมื่อบริษัทมีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้ แต่ยังชั่งใจว่าควรลงทุน RMF หรือเปล่า?
‘การเก็บออมเงิน’ เพื่อการเกษียณอายุ ถือเป็นเป้าหมายสำคัญที่ทุกคนควรให้ความสำคัญตั้งแต่เริ่มต้นทำงานหาเงินได้ เพราะยิ่งรู้ตัวเร็วเท่าไหร่ ยิ่งมีโอกาสเก็บเงินได้ถึงเป้าหมายที่ตั้งใจไว้เร็วขึ้นเท่านั้น และถ้าเป็นหนึ่งในผู้โชคดีที่ได้ทำงานในบริษัทที่มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund : PVD) ก็โล่งใจได้ว่าเราจะมีเงินออมส่วนหนึ่งไว้ใช้ยามเกษียณแน่นอน ซึ่งหากเราลงทุนอย่างต่อเนื่อง และไม่ได้นำเงินส่วนนี้ออกมาใช้ก่อนเกษียณ แถมระหว่างที่สะสมเงินเข้ากองทุนนี้ ก็สามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้อีกด้วย
ความเสียดายอย่างเดียวในชีวิตของพ่อคือ ‘ไม่ออมให้เยอะกว่านี้เมื่อมีโอกาส’
“ช่วงที่ดีร้านอาหารประสบความสำเร็จ เดือนๆหนี่งเฉลี่ยพ่อได้เงินกว่า 350,000 – 435,000 บาทเลย” Alvin Ang นักเขียนในสิงคโปร์เล่าถึงช่วงวัยเด็กที่พ่อหาเงินได้ค่อนข้างมาก แต่การตัดสินใจที่ผิดพลาดส่งผลให้วันนี้ขณะที่พ่อเข้าสู่วัยเกษียณแต่เงินไม่เพียงพอ หยุดทำงานไม่ได้เพราะ “ไม่อยากกลายเป็นภาระลูกหลาน”
“เราต้องมีเงินเก็บให้พอใช้ จนถึงวันสุดท้ายของชีวิต” สรุป 5 แนวคิดวางแผนเกษียณ-ลงทุน โดย คุณนาม สุรนาม พานิชการ ผู้ก่อตั้งและ CEO Tofusan
อยากวางแผนการเกษียณแต่ไม่รู้ว่าควรเริ่มจากตรงไหนดี ต้องลงทุนอย่างไรถึงจะเวิร์ก? สำหรับใครที่กำลังประสบกับปัญหานี้อยู่ ลองไปดูคำแนะนำดีๆ ในความนี้กัน
“ต้องการมีรายได้จุนเจือ จึงต้องกลับไปทำงานอีกครั้ง” เปิดเหตุผลที่คนวัยเกษียณ ต้องหันหน้าเข้าหางาน
ขณะที่คนรุ่นใหม่ ใฝ่ฝันต้องการเกษียณเร็วตั้งแต่อายุน้อยๆ ขณะที่วัยเกษียณหลายคนเลือกที่จะ “ไม่เกษียณ” โดยสนใจทำงานทั้งเต็มเวลาและพาร์ทไทม์
พอร์ตลงทุนที่สำคัญของชีวิต คือ “พอร์ตลงทุนเพื่อเกษียณ” สูตรจัดการความเสี่ยงพอร์ต ให้เติบโตอย่างยั่งยืน
หลังจากเข้าใจสินทรัพย์ลงทุนและเครื่องมือการลงทุนแล้ว จากนั้นควรทำความเข้าใจการจัดพอร์ตลงทุน เพราะเป็นเคล็ดลับที่จะทำให้เข้าใจระดับความเสี่ยงที่เหมาะสม และระดับผลตอบแทนที่ดีที่สุด สำหรับพื้นฐานและปัจจัยสำคัญของการจัดพอร์ตลงทุน มีดังนี้
“เกษียณครั้งแรกและครั้งเดียว” จัดการเงินยังไงไม่ให้ขัดสน 5 เคล็ดลับจัดการรายได้ – รายจ่าย สำหรับมือใหม่วัยเกษียณ
ในช่วงวัยทำงาน เมื่อใช้เงินจนหมด ก็สามารถรอเงินเดือน เดือนถัดไปเข้ามา ก็มีเงินก้อนใหม่ใช้จ่าย แต่สำหรับผู้ที่เพิ่งเกษียณอายุจากการทำงานหมาดๆ และไม่ได้มีรายได้ประจำอีกต่อไป ถ้าใช้เงินอย่างเพลิดเพลิน อาจทำให้เงินเก็บก้อนสุดท้ายหมดลงอย่างรวดเร็วภายในไม่กี่ปี และทำให้ไม่มีเงินเหลือเพียงพอต่อการดำรงชีวิต
“หนี้บ้านหลักล้าน” ถ้าไม่มี จะมีบ้านได้ยังไง? ถ้าไม่หมด จะเกษียณได้ยังไง? เทคนิคปิดหนี้บ้านก่อนวันเกษียณ
การไม่มีหนี้ เป็นลาภอันประเสริฐ เป็นประโยคที่แสนจะคุ้นเคย แต่สำหรับหลายๆ คนก็จะพูดว่า มีเงินเดือนหลักหมื่น แต่อยากมีบ้านหลักล้าน ไม่ผ่อนแล้วจะมีบ้านได้อย่างไร
“เตรียมเกษียณ” เมื่อไหร่ดี? ถ้าไม่วางแผนตั้งแต่วันนี้ อายุ 60 ปีไม่รู้จะเกษียณได้ไหม
“เตรียมเกษียณ” เป็นเรื่องที่สังคมไทยในปัจจุบันให้ความสำคัญมากขึ้น เหตุเพราะสังคมไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้วในปี2564 ประชากรมากกว่า20% มีอายุมากกว่า 60 ปี แต่สิ่งที่น่ากังวล คือ คนวัยเกษียณมีจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่สามารถเกษียณได้อย่างแท้จริง เพราะเงินออมเกษียณที่เตรียมไว้ มีไม่มากพอ
“สร้างรายได้ตลอดชีวิต” กับแนวคิด 2/6 ของ ฟิลลิป ลูบินสกี แบ่งเวลาเป็น 2 ช่วง แบ่งเงินเป็น 6 ก้อน ตาม The Income for Life Model
เคยคิดไหมว่า…นอกจากการมีเงินก้อนเพื่อไว้ใช้ในยามเกษียณแล้ว เราจะต้องบริหารจัดการเงินก้อนนั้นอย่างไร เพื่อให้สามารถมีเงินที่ใช้ได้ไปตลอดชีวิต