เคยมั้ย? เจ็บปวด เมื่อใช้ “เงินสด”แต่ไม่สลด เมื่อใช้ “บัตรเครดิต”เปิดอาการ เงิน(สด)หมด แล้วหดหู่
เคยเป็นมั้ย? สมมติว่าต้องซื้อของสักชิ้นหนึ่ง เช่น iPhone 14 ราคา 45,000 บาท ถ้าต้องหยิบแบงก์พันถึง 45 ใบจ่ายให้คนขาย มันจะมีความรู้สึกปวดใจและเสียดายหน่อยๆ ยิ่งตอนนับเงินก่อนส่งให้ หลายคนคงถามตัวเองซ้ำแล้วซ้ำอีกว่า คิดดีแล้วหรือ? เครื่องเก่ายังใช้ได้มั้ย?
เราเป็นใครใน “บุคลิกภาพทางการเงิน 4 แบบ”? อยากเก็บเงินให้อยู่ เราต้องรู้จักและเข้าใจตัวเองก่อน
กลยุทธ์การจัดการเรื่องเงินที่เหมาะสม ‘สำหรับทุกคน’ นั้นไม่มี สูตรตายตัวที่ทุกคนใช้แล้วการันตีผลลัพธ์ที่ยอดเยี่ยมนั่นเหมือนยูนิคอร์น สวยงามแต่ก็มีเพียงแต่ในนิยายเท่านั้น เพราะเรื่องการเงินส่วนบุคคลชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็นเรื่อง ‘ส่วนบุคคล’ ที่แตกต่างกันออกไป
ประกันสุขภาพ “ซื้อเร็วไป 3 ปี” ยังดีกว่า “ซื้อช้าไปแค่ 1 วินาที” สาเหตุที่บอกว่า “ยิ่งสุขภาพดี” ยิ่งต้องมีการทำ “ประกัน”
ประกันเป็นผลิตภัณฑ์การเงินที่แปลกมากๆ ไม่เหมือนการลงทุน การลงทุนเราควรรอจังหวะที่ราคาเมื่อเทียบกับมูลค่าต่ำมากหรือเมื่อมีสัญญาณทางเทคนิคที่เหมาะสม ประกันกลับตรงกันข้ามกับการลงทุน ตรงที่จุดที่ควรซื้อประกันมากที่สุด คือ “จุดที่เรามีความเสี่ยงมากที่สุด”
เหนือ “คนโง่” ยังมี “คนโง่กว่า”ความเชื่อลงทุนแบบผิด ๆจากความโลภที่ ไม่เข้าใคร-ออกใคร
เคยมั้ย? คิดว่า ถ้าชิงลงมือก่อน แล้วเราจะได้เปรียบจากคนที่ด้อยกว่า ถ้าคำตอบ คือ เคย…คุณอาจมีพฤติกรรมที่เข้าข่าย ทฤษฎีคนโง่กว่า ก็เป็นได้…
“ใช้จ่ายให้ดี ออมให้ดี มีชีวิตที่ดี” Kakeibo วิถีจัดการเงินแบบญี่ปุ่น ทางสายกลางเรื่องเงินแบบมีสติอยู่กับปัจจุบันขณะ
เรื่องการเงินสำหรับหลายๆ คนคือปัญหาเกี่ยวกับเรื่องตัวเลข ประหนึ่งปัญหาคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร ออกมาเป็นลบเป็นบวก เริ่มจากรายรับที่เข้ามาแต่ละเดือนเท่าไหร่ จ่ายหนี้ตรงนั้น ค่าน้ำ ค่าไฟ เก็บอีกสักหน่อย ที่เหลือก็เฉลี่ยๆ ให้ชีวิตอยู่รอดไปจนถึงเดือนต่อไป เอาตัวเลขไปใส่ตาราง Excel จบแค่นั้น
Portfolio Rebalancing ปรับพอร์ตลงทุนให้เหมาะกับความเสี่ยง และสร้างโอกาสของผลตอบแทนที่ดีขึ้น
จากความผันผวนของตลาดหุ้นทั่วโลก ส่งผลกระทบให้นักลงทุนหลายคนสับสน มึนงง ไม่รู้จะจัดการกับเงินในพอร์ตลงทุนอย่างไรดี จะเติมเงิน หรือโยกย้าย อยากไปต่อก็กลัวขาดทุน จะหยุดแค่นี้ก็เสียดายโอกาส เชื่อว่าหลายคนกำลังเจอปัญหานี้อยู่ ลองหันกลับมาดูพอร์ตลงทุนตัวเองก่อนว่ายังโอเคอยู่ไหม ผลตอบแทนที่ได้นั้นอยู่ในระดับที่เราคาดหวัง และสามารถพาให้ไปถึงฝั่งฝันหรือไม่
“เน้นรวย ไม่เน้นลูก” เทรนด์ DINK ของคู่รักยุคใหม่มุ่งทำงาน ทำเงิน แต่ไม่อยากมีลูก
โลกเปลี่ยนแปลงเสมอ การใช้ชีวิตของคนรุ่นใหม่ก็เช่นกัน คู่รักสมัยนี้ บางคู่ไม่อยากมีลูก เพราะไม่ได้รู้สึกว่า… “ชีวิตคู่ที่ไม่มีลูก ไม่ใช่ ชีวิตรักที่ไม่สมบูรณ์อีกต่อไป ตราบใดที่มีเงินและใช้ชีวิตตอบโจทย์ไลฟ์สไตล์ของทั้งคู่ได้ดี” คู่รักที่ใช้ชีวิตแบบนี้ ถูก เรียกว่า “DINK” ย่อมาจาก Double Income , No Kid
รู้อะไรไม่สู้ รู้ว่า(ประกัน)สำคัญ สัญญา “ประกันค่าชดเชยรายวัน” ตัวช่วยเมื่อรายได้หดหาย
“ยังไม่รับดีกว่า “พี่ทำไปแล้ว ไม่ค่อยได้นอนโรงพยาบาล” “ลืมซื้อเพิ่ม” ประโยคตัวอย่างที่หลาย ๆ คน บอกปัดเมื่อต้องซื้อประกัน แต่เมื่อเกิดเหตุและต้องนอน โรงพยาบาล อาจจะบอกว่า “รู้งี้ ซื้อประกันดีกว่า”
Ji-hyeon Kwak หญิงสาววัย 24 ปี ชาวเกาหลีใต้ เก็บเงิน 100 ล้านวอนใน 4 ปี ใช้เงินซื้ออาหารเดือนละประมาณ 230 บาท จนซื้ออพาร์ทเมนต์หลังแรกของตัวเองได้สำเร็จ
“เม็ดฝุ่นรวมกันเป็นภูเขา” สุภาษิตเกาหลีหนึ่งที่มักถูกใช้เพื่อกระตุ้นให้คนรู้จักเก็บเล็กผสมน้อยเพื่อสร้างความมั่งคั่งให้กับตัวเอง แต่ต้องยอมรับว่าในยุคสมัยปัจจุบันมันเป็นเรื่องที่ยากไม่น้อย สภาวะทางสังคมที่ไม่เอื้ออำนวยและไร้ซึ่งความหวัง
8 บทเรียนการเงินคลาสสิกจาก 8 นักลงทุนในตำนาน
เป็นเรื่องที่ง่ายมากในโลกของการลงทุนที่เราเห็นคนประสบความสำเร็จ เป็นนักลงทุนที่ร่ำรวยมหาศาล ขึ้นปกนิตยสารชื่อดัง แล้วเราอยากหา “สูตรลับความสำเร็จ” จากคนเหล่านั้น พวกเขาทำยังไงถึงมาถึงจุดนี้ได้
ราคาของ “การเป็นโสดอยู่คนเดียว” นั้นคุ้มค่าหรือไม่?
พอพูดถึงหน้าหนาวแล้วสิ่งหนึ่งที่มาควบคู่กันก็คือ “บรรยากาศแห่งการแต่งงาน” เท่าที่นับดูแล้วปลายปีนี้ผมจะมีงานแต่งที่ต้องไปร่วมประมาณ 4-5 งานด้วยกัน ก็ยินดีกับชีวิตคู่ของทุกคนที่กำลังจะเริ่มขึ้นในช่วงเวลาแห่งความสุขด้วยนะครับ
“เตรียมเกษียณ” เมื่อไหร่ดี? ถ้าไม่วางแผนตั้งแต่วันนี้ อายุ 60 ปีไม่รู้จะเกษียณได้ไหม
“เตรียมเกษียณ” เป็นเรื่องที่สังคมไทยในปัจจุบันให้ความสำคัญมากขึ้น เหตุเพราะสังคมไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้วในปี2564 ประชากรมากกว่า20% มีอายุมากกว่า 60 ปี แต่สิ่งที่น่ากังวล คือ คนวัยเกษียณมีจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่สามารถเกษียณได้อย่างแท้จริง เพราะเงินออมเกษียณที่เตรียมไว้ มีไม่มากพอ