Latest Posts
“เสพติดการเป็นหนี้”ภัยการเงินสุดร้ายอันตรายถึงชีวิตรู้ทันอาการ Debt Addiction
คุณเคยเป็นหนี้มั้ย..?!! ไม่ว่าจะเป็นหนี้จากการขอยืมเงิน, หนี้ กยศ., หนี้บ้าน, หนี้คอนโดฯ หรือ หนี้บัตรเครดิต เชื่อว่า มนุษย์เงินเดือนอย่างเราๆ คงยกมือกันสลอน!!
เรียนจบสูง ไม่ได้การันตีความสำเร็จด้านการเงิน ปัจจัย 7 ข้อที่ขัดขวางทำให้ไปไม่ถึงความมั่งคั่งที่ต้องการ
มีผลสำรวจจาก The Deloitte Global 2022 ที่ไปสอบถามกลุ่มตัวอย่าง เป็น คน Gen Y และ Gen Z จำนวนกว่า 23,220 คนทั่วโลก ซึ่งเป็นมนุษย์เงินเดือน ในจำนวนนี้มี คนไทย 300 คนรวมอยู่ด้วย พบว่า เกินครึ่งของกลุ่มตัวอย่าง ใช้ชีวิตแบบเดือนชนเดือน และต่างกังวลว่าจะไม่มีเงินไปจ่ายบิล
“เมื่อรายได้มีจำกัด” 5 วิธีที่ทำให้รู้ว่าควร “ผ่อน” หรือ “เช่า”
“รายได้ของเรามีจำกัด แต่ความต้องการของเรามีไม่จำกัด” การตัดสินใจก่อนจ่ายเงินแต่ละครั้งก็ต้องเลือกแล้วเลือกอีกเพื่อซื้อของให้คุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป โดยเฉพาะของชิ้นใหญ่ราคาแพง เช่น รถยนต์กับบ้าน คิดไม่ตกเลยว่าควรจะผ่อนหรือเช่า เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเวลาไหนควรผ่อนหรือเวลาไหนควรเช่า จะมีวิธีคิดอย่างไรบ้าง
เงินก้อน 10,000 บาท ใช้ยังไงให้เกิดประโยชน์สูงสุด ตามหลัก “พีระมิดทางการเงิน”
เคยคิดไหมว่า ถ้าวันหนึ่งได้ “เงินหลักหมื่น” มาแบบไม่ทันตั้งตัว เช่น เจ้านายให้โบนัส, ได้เงินพิเศษจากบริษัท, แฟนให้ของขวัญวันครบรอบ หรือ ถูกหวย เราจะเอาเงินไปใช้อะไรดีให้เกิดประโยชน์สูงสุด?
“ถ้าเราเองก็ลำบาก” ปฏิเสธ ‘ยืมเงิน’ ยังไง? ไม่ให้ทำลายความสัมพันธ์
ช่วงใกล้สิ้นเดือนแบบนี้ หลายคนน่าจะเริ่มเจอคนทักมายืมเงินกันบ้างแล้ว ไม่ว่าจะเป็นคนใกล้ตัว คนรู้จัก เพื่อน หรือแม้กระทั่งญาติ เรียกได้ว่าเป็นปัญหาที่ชวนปวดหัวที่สุดในโลก บางทีให้ยืมไปพอจะทวงก็ลำบากใจ ไม่รู้ว่าจะต้องพูดยังไง หรือบางครั้งที่ไปทวงกลับถูกลูกหนี้ต่อว่ากลับมาอีกด้วย ถึงกับงงว่าตกลงใครเป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้กันแน่ แต่บางคนให้ยืมไปแล้วได้คืนก็ถือว่าโชคดีไป แต่ก็ไม่ใช่กับทุกคนที่จะได้เงินคืนโดยที่ไม่ต้องเอ่ยปากทวง
“จน” เพราะ “เป็นหนี้”หรือ “เป็นหนี้” เพราะ “จน” ?
เมื่อพูดถึงคำว่า “หนี้” กับคำว่า “จน” ทีไร มักจะเกิดคำถามตามมาว่า “เพราะจนถึงต้องมาเป็นหนี้” หรือมาจากเหตุผลที่ว่า “เพราะเป็นหนี้เลยต้องจน”
The Financial Pyramid สร้างฐานะให้ร่ำรวยมั่งคั่งด้วยการวางรากฐานแบบพีระมิด
พีระมิดทางการเงินนี้ ประยุกต์มาจากทฤษฎีความต้องการของมนุษย์ โดยอับราฮัม มาสโลว์ นักจิตวิทยาระดับโลก เขาแบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็นลำดับขั้น ซึ่งคล้ายๆ กับการวางแผนการเงิน และลำดับความสำคัญของค่าใช้จ่าย ดังนั้นพีระมิดนี้จึงเป็นไกด์ไลน์ในการสร้างความแข็งแรงทางการเงิน ตั้งแต่ฐานรากไปจนถึงปลายยอด
ถ้าพ่อแม่มีหนี้ เมื่อเสียชีวิต “ลูกยังต้องใช้หนี้ต่อไหม?”
หลายคนน่าจะทราบกันดีว่า ถ้าพ่อแม่เกิดเสียชีวิตขึ้นมาเราจะได้รับ “มรดก” หรือได้เป็นเจ้าของทรัพย์สินต่างๆ ต่อจากพ่อแม่เรา แล้วเคยสงสัยกันบ้างรึเปล่าครับว่า “ถ้าพ่อแม่เรามีหนี้สินด้วยล่ะ?” จะถือว่าเป็นมรดกหรือไม่ แล้วเราจะต้องใช้หนี้ต่อรึเปล่า วันนี้ aomMONEY จะพาไปหาคำตอบกันครับ
ครัวเรือนไทยหนี้พุ่ง เหตุรายได้ไม่พอจ่าย อยากหลุดพ้นจากหนี้ มีวิธีบริหารจัดการยังไง?
ข้อมูลจากศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย พบว่าในปี 2566 ภาระหนี้ของครัวเรือนแรงงานไทยอยู่ที่ 272,528 บาทต่อครัวเรือน เพิ่มขึ้นจากปี 2565 ที่ 25.04 % ถือว่าสูงสุดในรอบ 14 ปี
“หนี้สิน” ไม่ใช่ข้ออ้างในการไม่ลงทุน? เป็นหนี้ก็ลงทุนได้
เชื่อว่าเป้าหมายชีวิตของทุกคนคงไม่ต่างกัน เหตุผลที่อดทนทำงานหนัก สุดท้ายแล้วเราก็แค่อยากสบายในบั้นปลายชีวิต มีเงินใช้ยามเกษียณ ไม่ต้องรบกวนลูกหลาน แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ “ระหว่างทาง” กว่าจะไปถึงจุดนั้นมันไม่ราบรื่นอย่างที่คิด
“เป็นหนี้ท่วมหัว” จะออมเงินได้อย่างไร? สูตรเช็กสุขภาพการเงิน มีหนี้ก็มีเงินออมได้
แค่ได้ยินคำว่า “ออมเงิน” หลายคนก็คงร้องโอ๊ย โดยเฉพาะคนที่มีหนี้สินเกินตัว บางคนมีทั้งหนี้บ้าน หนี้รถ หนี้บัตรเครดิต หนี้นอกระบบ หนี้ยืมเงินเพื่อน หนี้ครอบครัว
3 ขั้นตอนเลือก “บัตรเครดิต”คิดก่อนใช้ รูดได้ไม่จน
“บัตรเครดิต” นั้นดูเหมือนเป็นภาพสะท้อนความนำสมัยของไลฟ์สไตล์คนรุ่นใหม่ ตั้งแต่ยุค 4C ก่อนเศรษฐกิจฟองสบู่ต้มยำกุ้งปี 2540 ที่เขาว่ากันว่าต้องมี รถ (Car) , อยู่คอนโด (Condominium) , พกถุงยาง (Condom) และใช้บัตรเครดิต (Credit card) ดังนันเป็นความใฝ่ฝันของคนที่เริ่มทำงานที่อยากจะมีติดตัวไว้สักบัตร บางคนก็อาจจะมีหลายๆ ใบ