Latest Posts
“เตรียมเกษียณ” เมื่อไหร่ดี? ถ้าไม่วางแผนตั้งแต่วันนี้ อายุ 60 ปีไม่รู้จะเกษียณได้ไหม
“เตรียมเกษียณ” เป็นเรื่องที่สังคมไทยในปัจจุบันให้ความสำคัญมากขึ้น เหตุเพราะสังคมไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงวัยแล้วในปี2564 ประชากรมากกว่า20% มีอายุมากกว่า 60 ปี แต่สิ่งที่น่ากังวล คือ คนวัยเกษียณมีจำนวนไม่น้อยที่ยังไม่สามารถเกษียณได้อย่างแท้จริง เพราะเงินออมเกษียณที่เตรียมไว้ มีไม่มากพอ
“สร้างรายได้ตลอดชีวิต” กับแนวคิด 2/6 ของ ฟิลลิป ลูบินสกี แบ่งเวลาเป็น 2 ช่วง แบ่งเงินเป็น 6 ก้อน ตาม The Income for Life Model
เคยคิดไหมว่า…นอกจากการมีเงินก้อนเพื่อไว้ใช้ในยามเกษียณแล้ว เราจะต้องบริหารจัดการเงินก้อนนั้นอย่างไร เพื่อให้สามารถมีเงินที่ใช้ได้ไปตลอดชีวิต
“แผนเกษียณ” ไม่หลงทิศ ต้องวางแผนที่ชีวิตให้เป็น รวม 4 ตัวเลขทางการเงิน ที่คนเตรียมตัวเกษียณต้องรู้!
แม้ว่าจะวางแผนการเงินอย่างรัดกุมก่อนถึงวันเกษียณ แต่หลังจากเกษียณไปแล้วก็ต้องวางแผนการเงินต่อไป ต้องจัดการรายได้ รายจ่าย หรือวางการลงทุนให้เหมาะสม และเพื่อให้ “เงิน” ที่เก็บมาตลอดช่วงวัยทำงาน มีเพียงพอกับการใช้จ่ายไปจนถึงบั้นปลายชีวิต อาจเริ่มต้นบริหารจากตัวเลข ดังนี้
“ลอตเตอรี่” ไม่ใช่ผู้ร้ายเพราะคนไทยแค่หวังหลุดพ้นจากความยากจน
หลายคนยอมทุ่มเงินไปกับการซื้อลอตเตอรี่ แม้ว่าจะยิ่งเล่นก็ยิ่งถูกกิน เงินที่เสียไปมากกว่าเงินที่ได้รางวัลมา (หรือบางคนก็ไม่เคยถูกเลย) แต่ก็ไม่ยอมหยุดซื้อสักที เพราะหวังว่าเราจะเป็น “ผู้ชนะ” ในสักวัน
“กระปุกเกษียณ” กระปุกเงินที่ทุกคนต้องมี หยอดเงินด้วย “Pay yourself first” เก็บออมก่อนใช้ สบายใจกว่า
เมื่อเริ่มต้นทำงานและมีรายได้เป็นของตัวเอง ย่อมต้องการจัดการเรื่องใช้จ่ายเงินด้วยตัวเอง แม้ฐานรายได้อาจยังไม่มาก แต่รายจ่ายที่ทุกคนมีเหมือนกัน คือ รายจ่ายพื้นฐานสำคัญที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิต เช่น ค่าอาหาร ค่าเดินทาง ค่าเช่าที่อยู่อาศัย ค่าเสื้อผ้า
ไม่ต้องถูกหวย ไม่ต้องรวยแต่เกิด พนักงานประจำเกษียณด้วยวัย 35 ปี เพราะ “แหกกรอบความเชื่อการเงินทางสังคม 6 ข้อ” จนมีเงิน 35 ล้าน
ในปี 2016 สตีฟ แอดค็อก ได้เดินทางมาถึงเป้าหมายอิสรภาพทางการเงินที่ตั้งใจเอาไว้ด้วยเงินเก็บราว ๆ 900,000 เหรียญ เขาตัดสินใจลาออกจากอาชีพนักพัฒนาซอฟต์แวร์แล้วเกษียณด้วยวัย 35 ปี หลังจากนั้นไม่กี่ปีความมั่งคั่งของเขาก็ไปแตะ 1,000,000 เหรียญ หรือประมาณ 35 ล้านบาท
อายุ 60 คุณต้องมีเงินเก็บเท่าไร? กรณีไม่อยากทำงาน อยู่บ้านเฉยๆ
“ชีวิตหลังเกษียณ อาจน่ากลัวกว่าชีวิตหลังความตาย ถ้าไม่มีเงิน” ประโยคนี้นับว่าเป็นสิ่งที่สร้างความกลัวให้กับใครหลายคนอย่างมากครับ เพราะเราไม่สามารถรู้อนาคตล่วงหน้าได้เลยว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง การเก็บเงินไว้ใช้ยามบั้นปลายจึงน่าจะปลอดภัยที่สุด
เกษียณ 10 ล้านด้วย PVD แนวทางปรับน้อย แต่ได้มาก ของ “กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ”
“สังขารไม่เที่ยง” เป็นสัจธรรมของโลก เมื่ออายุมากขึ้น ร่างกายที่เคยแข็งแรงก็จะเริ่มถดถอยลง ความคิดที่เคยเฉียบคมก็ค่อย ๆ ช้าลง
คุ้มแค่ไหน? เมื่อ กอช. อัปเกรด“จ่ายหลักพัน ได้บำนาญหลักหมื่น”สูงสุด 12,000 บาทต่อเดือน
“ข้าราชการ” มีกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
“มนุษย์เงินเดือน” มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) และ ม.33 แล้ว อาชีพอิสระ พ่อค้า แม่ขาย มีกองทุนอะไรมั้ย ที่สามารถเก็บเงิน และขอรับเป็น “บำนาญ” ได้เหมือนกับอาชีพอื่นๆ ?
“วางแผนการเงิน 100 ปี” แนวคิดใหม่เมื่อคนไทยอายุยืนขึ้นผู้หญิงยิ่งต้องวางแผนยาวกว่าผู้ชาย
ทุกคนคงทราบกันดีว่า ปีนี้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์แล้ว (Complete Aged Society) พูดให้เห็นภาพง่ายๆ คือ คนไทยทุกๆ 5 คนจะมีผู้สูงอายุมากกว่า 60 ปีอยู่ 1 คน และในปี 2578 เราจะมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นเป็น 25% หรือราว 16 ล้านคน
เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุใหม่ ทำไมต้องพิสูจน์ความจน กับความกังวลของวัยเกษียณ
จากประเด็นร้อนแรงในช่วงวันหยุดวันแม่ไปเลยทีเดียวกับระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับ พ.ศ. 2566 มีผลบังคับใช้ 12 สิงหาคม 2566 วันแม่ที่ผ่านมานี้เอง ซึ่งถือว่าเป็นฉบับล่าสุด ซึ่งมีเนื้อหาที่แตกต่างจากระเบียบกระทรวงมหาดไทยฉบับก่อนๆ ที่เป็นประเด็น
ทำไมเกษียณอายุเร็ว อาจจะไม่ได้มีแต่ข้อดีแบบที่เราคิด?
สำหรับคนทำงานส่วนใหญ่เชื่อว่ามีเป้าหมายเรื่องการเกษียณไว้ในหัวไม่มากก็น้อย หลายคนอาจจะมีเป้าเรื่องการเงิน พอเก็บเงินได้เท่านี้ก็จะหยุดทำงานและไปนอนอยู่บ้านสบาย ๆ บางคนอาจจะเป็นเป้าเรื่องอายุ พออายุ 65 ก็หยุดละจะได้ใช้ชีวิตบั้นปลายไม่ต้องเหน็ดเหนื่อย