Latest Posts
วอร์เรน บัฟเฟตต์เยือนญี่ปุ่นในรอบทศวรรษ ตอกย้ำความมั่นใจการถือครองหุ้น 6% ของ 5 บริษัทใหญ่ญี่ปุ่นมูลค่ากว่า 375,000 ล้านบาท
บัฟเฟตต์เริ่มมีการเทน้ำหนักในการลงทุนในตลาดต่างประเทศมากยิ่งขึ้น และญี่ปุ่นก็เป็นประเทศหนึ่งที่เขารู้สึกมั่นใจสำหรับอนาคตที่จะมาถึงด้วย
เปิดโผ “กองทุนรวม” ผลตอบแทนสูงสุดปี 2565
เปิดโผ “กองทุนรวม”ผลตอบแทนสูงสุดปี 2565 แยกตามประเภทกองทุนที่น่าสนใจ จะมีกองทุนไหนบ้าง คลิกเลย!
ทำไมกองทุน Healthcare กับกองทุนเวียดนามถึงน่าสนใจ
และเหมาะสำหรับการวางแผนลดหย่อนภาษีในช่วงเวลานี้?
ในช่วงปลายปีแบบนี้ หลายคนคงอยากได้มุมมองทางด้านเศรษฐกิจสำหรับช่วยตัดสินใจเลือกกองทุนเพื่อลงทุน บทความนี้จึงรวบรวมมุมมองที่น่าสนใจและกองทุนที่น่าลงทุนมาเล่าสู่กันฟังครับ โดยสรุปมาจากรายการกองทุนไหนดี ? ที่ได้แขกรับเชิญคนพิเศษอย่างคุณเกียรติศักดิ์ ปรีชาอนุสรณ์, CFA ผู้อำนวยการฝ่ายการลงทุนทางเลือก บลจ.กรุงศรี มาพูดคุยกันในประเด็นนี้ครับ
รวมที่สุดกองทุน SSF ผลตอบแทนสูงสุดปี 2565
โค้งสุดท้ายแล้ว!! สำหรับการซื้อ SSF ในปีนี้ ใครที่ยังลังเลต้องรีบแล้ว นอกจากจะได้กำไรจากการลดหย่อนภาษีตั้งแต่ซื้อแล้ว การได้เข้าซื้อในช่วงเศรษฐกิจขาลงก็ถือว่าเป็นจังหวะที่ดี เพราะจะได้หน่วยลงทุนที่ราคาถูก หรือถ้าซื้อกองทุนมอยู่แล้วก็เป็นโอกาสดีในการซื้อลงทุนเพื่อถัวเฉลี่ยต้นทุน
รวมที่สุดกองทุน RMF ผลตอบแทนสูงสุดปี 2565
โค้งสุดท้ายแล้ว!! ใครที่กำลังมองหากองทุนลดหย่อนภาษี และยังไม่รู้ว่าจะเลือกกองทุนไหนดี วันนี้ #aomMONEY มีกองทุนเด็ดจากทั้ง 4 ประเภทกองทุน RMF มาให้เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการลงทุน
ลงทุนในตราสารหนี้ดีไหม หุ้นแบบไหนเหมาะกับสถานการณ์ ตอบคำถามด้วยกองทุน UGISRMF และ UGQG-SSF
ลงทุนในตราสารหนี้ดีไหม หุ้นแบบไหนเหมาะกับสถานการณ์ ตอบคำถามด้วยกองทุน UGISRMF และ UGQG-SSF ซึ่งแต่ละกองทุนนั้นมีรายละเอียดและความน่าสนใจดังนี้ครับ
ลดหย่อนภาษีในแต่ละปี ต้องมองที่ความยั่งยืนระยะยาว
สิ่งหนึ่งที่ผมได้ยินเสมอตอนช่วงปลายปี คือ “เข้าสู่ช่วงลดหย่อนภาษีประจำปีอีกแล้ว คงต้องวางแผนลดหย่อนภาษี” ซึ่งแน่นอนว่าตัวเลือกที่หลายคนนึกถึงคงหนีไม่พ้น คือ กองทุนที่ตอบโจทย์เป้าหมายการเงินของเรา อย่างกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และ กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) ที่แต่ละคนเลือกใช้เพื่อวางแผนลดภาษีไปพร้อมกับเป้าหมายการเงินที่มี
รู้ยัง? LMTs เครื่องมือบริหารความเสี่ยงสภาพคล่องกองทุนรวม
ปัจจุบัน การลงทุนผ่านกองทุนรวมคือหนึ่งในทางเลือกหลักที่คนนึกถึงไม่แพ้การลงทุนผ่านช่องทางอื่น ด้วยข้อได้เปรียบคือกองทุนรวมนั้นมีมืออาชีพที่คอยบริหารจัดการให้ ด้วยค่าธรรมเนียมเล็กน้อยในการบริหาร ทำให้ตลาดของกองทุนรวมเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ลดหย่อนภาษีในแต่ละปี ต้องมองที่ความยั่งยืนระยะยาว
สิ่งหนึ่งที่ผมได้ยินเสมอตอนช่วงปลายปี คือ “เข้าสู่ช่วงลดหย่อนภาษีประจำปีอีกแล้ว คงต้องวางแผนลดหย่อนภาษี” ซึ่งแน่นอนว่าตัวเลือกที่หลายคนนึกถึงคงหนีไม่พ้น คือ กองทุนที่ตอบโจทย์เป้าหมายการเงินของเรา อย่างกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และ กองทุนรวมเพื่อการออม (SSF) ที่แต่ละคนเลือกใช้เพื่อวางแผนลดภาษีไปพร้อมกับเป้าหมายการเงินที่มี
ลงทุนธีมเปิดประเทศกับ BAREIT ประตูสู่เกาะสมุย แหล่งท่องเที่ยวสำคัญของไทย
ประเทศไทยเริ่มเปิดประเทศอย่างเต็มรูปแบบในปีนี้ โดยมีการยกเลิกระบบ test and go ในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา และยกเลิกระบบ Thailand Pass ในเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา หลังจากการเปิดประเทศตัวเลขนักท่องเที่ยวที่เดินทางเข้ามาประเทศไทยมีการปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยจำนวนนักท่องเที่ยวปรับตัวเพิ่มขึ้นจาก 133,903 คน ในเดือนมกราคม 2565 เพิ่มขึ้นเป็น 521,410 ในเดือนพฤษภาคม 2565 และ คาดการณ์ว่าจะเพิ่มขึ้นเป็น 7-10 ล้านคนในช่วงปลายปีนี้ (ตัวเลขจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย) จากการฟื้นตัวของสถานการณ์การเดินทางระหว่างประเทศของประเทศไทยดังกล่าว จึงเป็นจังหวะเวลาในการลงทุนในธีมเปิดเมืองในหุ้นหรือกองอสังหาเองก็ตาม ธุรกิจหนึ่งที่คาดว่าจะฟื้นตัวได้เป็นอย่างดีตามการเปิดประเทศนี้ คือ ธุรกิจสนามบินเนื่องจากเป็นประตูสู่ประเทศไทย ซึ่งรวมถึงสนามบินในแหล่งท่องเที่ยว อย่างสนามบินสมุย ซึ่งเป็นประตูสู่เกาะสมุย หนึ่งในแหล่งเที่ยวยอดนิยมของประเทศไทย และในจังหวะที่สมุยมีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สนามบินสมุยก็เปิดโอกาสให้คนทั่วไปได้เข้าร่วมลงทุนในสนามบินแห่งนี้ด้วยเช่นกัน ผ่านกองทรัสต์ BAREIT รายละเอียดของกองทรัสต์สนามบินสมุย BAREIT หรือ ทรัสต์เพื่อการลงทุนในสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์สนามบินการบินกรุงเทพ เป็นกองทรัสต์ที่ระดมทุนเพื่อลงทุนในสิทธิการเช่าสนามบินสมุย เป็นระยะเวลา 25 ปี โดย บมจ. การบินกรุงเทพ หรือ BA ซึ่งเป็นเจ้าของสนามบินสมุย (และยังเป็นเจ้าของสนามบินสุโขทัยและสนามบินตราด) หากใครที่อยากลงทุนในสนามบินสมุย ก็แนะนำให้ซื้อหน่วยทรัสต์จากกองทรัสต์ […]
ทางเลือกช่วยให้เงินงอกเงย ด้วย ttb smart port
ทุกวันนี้ อัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ในประเทศไทยอยู่ที่ประมาณ 0.50% นั่นแปลว่า หากเรามีเงินเก็บ 100,000 บาท สิ้นปีเราจะได้รับดอกเบี้ยเพียง 500 บาทเท่านั้น เงินฝากนับได้ว่าเป็นหนึ่งในทางเลือกของการลงทุนที่ทุกคนรู้จักกันมากที่สุด เพราะเข้าใจได้ง่าย และมีความเสี่ยงที่ต่ำมากๆ แต่จุดอ่อนของการฝากเงินก็คือผลตอบแทนน้อย อย่างไรก็ตาม นี่ก็เป็นทางเลือกที่คนให้ความนิยมมากที่สุดอยู่ดี เพราะถ้าไปลงทุนอย่างอื่นเพื่อหวังผลตอบแทนสูงขึ้น ก็ต้องแลกกับ “ความเสี่ยง” ที่เพิ่มขึ้นเป็นเงาตามตัว รวมถึงต้องใช้เวลาศึกษามากขึ้นด้วย เงินออมของคนมากมายจึงถูกจำกัดให้อยู่แค่ในบัญชีเงินฝากเท่านั้น คำถามคือ จะเป็นไปได้ไหมที่เงินออมของเรา จะมีทางเลือกในการทำให้เงินงอกเงยมากขึ้น เลือกความเสี่ยงที่เหมาะสมกับตัวเองได้ และไม่ว่าใครก็สามารถลงทุนได้ในสภาวะตลาดที่ผันผวน แม้จะไม่มีเวลาติดตามการลงทุนเลย ขอเชิญพบกับ ttb smart port ทางเลือกในการลงทุนแบบใหม่ ที่ง่าย และเหมาะกับคนทุกสไตล์ ttb smart port คืออะไร ttb smart port คือบริการจัดพอร์ตลงทุนในกองทุนรวมแบบครบวงจร เพื่อให้ผู้ลงทุนมีทางเลือกในการลงทุนมากขึ้น และเลือกแผนการลงทุนที่ตอบโจทย์เป้าหมายของตัวเองได้มากที่สุด โดยมีผู้เชี่ยวชาญคอยดูแลพอร์ตการลงทุนให้อย่างใกล้ชิด โดยทั่วไปแล้ว การจัดพอร์ตการลงทุนและออกแบบแผนการลงทุนให้เหมาะสมกับเป้าหมายตัวเองนั้น ต้องใช้เวลาในการหาข้อมูล รวมถึงบริการจัดพอร์ตดังกล่าวมักจะมีไว้ให้บริการสำหรับลูกค้ารายใหญ่เป็นหลัก แต่ทุกวันนี้ ด้วยนวัตกรรมทางการเงินของ ttb ทำให้บุคคลทั่วไปที่สนใจก็สามารถใช้บริการ ttb […]
รู้จักธนาคารยูโอบีกับตราสารด้อยสิทธิ เพื่อนับเป็นเงินกองทุน
ธนาคาร นับเป็นหนึ่งในธุรกิจที่การบริหารหนี้สินและเงินทุนให้มีความเหมาะสมเป็นเรื่องสำคัญยิ่ง อาจจะสำคัญมากที่สุดเมื่อเทียบกับหลาย ๆ ธุรกิจด้วยซ้ำไป เพราะธนาคารดำเนินธุรกิจอยู่ได้ด้วยการรับฝากเงินและปล่อยกู้ต่อ เงินทุกบาทที่มีถูกนำไปใช้ประโยชน์ทางการเงินเพื่อสร้างผลตอบแทนให้สูงที่สุด แทบทุกธนาคารจึงมีสัดส่วนหนี้สินต่อทุน (Debt to Equity Ratio) ในระดับที่ 5-10 เท่า หรือบางแห่งอาจมากกว่านั้น ขึ้นอยู่กับนโยบายการประกอบธุรกิจของแต่ละแห่ง แต่เพราะสัดส่วนหนี้สินต่อทุนที่สูง หากธนาคารประสบปัญหาอะไรบางอย่าง เช่น ลูกหนี้จำนวนมากเกิดผิดนัดชำระหนี้ หรือผู้ฝากเงินต้องการถอนเงินพร้อมกัน ธนาคารก็อาจประสบปัญหาได้หากมีการสำรองเงินสดหรือสินทรัพย์เทียบเท่าเงินสดน้อยเกินไป ด้วยเหตุนี้ ธนาคารจึงจำเป็นต้องมีเบาะกันกระแทกเพื่อรองรับหากเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝัน หรือที่เรียกว่าเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง เพื่อให้เงินก้อนนี้สามารถเป็นเงินที่รับผลขาดทุนได้บางส่วนหรือทั้งหมดหากธนาคารมีเหตุให้ไม่สามารถดำเนินกิจการต่อได้ ตามปกติแล้วธนาคารทุกแห่งจะต้องดำรงอัตราเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงไว้อย่างน้อย 11% (รวมเงินกองทุนส่วนเพิ่มเพื่อสำรองไว้ยามฉุกเฉิน) ตามหลักเกณฑ์ธนาคารแห่งประเทศไทยกำหนด ซึ่งเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงนี้จะเป็นเหมือนเบาะรองรับหากธนาคารประสบปัญหาจนไม่อาจดำเนินกิจการได้ปกติ โดยเงินกองทุนที่กล่าวถึงนี้ จะแบ่งออกเป็น 2 ระดับ คือ เงินกองทุนชั้นที่ 1 (Tier 1 Capital) ซึ่งรวมถึงส่วนของเจ้าของด้วย และเงินกองทุนชั้นที่ 2 (Tier 2 Capital) วิธีการทำงานของอัตราเงินส่วนกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยง หากเกิดเหตุการณ์วิกฤตที่กระทบต่อธนาคาร (trigger events) ทำให้ธนาคารมีผลขาดทุนก้อนใหญ่ จนทำให้อัตราส่วนเงินกองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงลดลงต่ำ จนส่งผลให้ความเสี่ยงจากการดำเนินธุรกิจของธนาคารเพิ่มขึ้นอย่างมากจนอาจไม่สามารถดำเนินกิจการต่อไปได้ […]