Latest Posts
’รักนะ แต่ยังไม่แต่ง’ 73% ของคู่รัก Millennials และ Gen Z บอกเศรษฐกิจแบบนี้ขอเลื่อนงานแต่งออกไปก่อนเพราะแพงเกินไป
ครั้งหนึ่งในอดีตการมีครอบครัวลงหลักปักฐานแต่งงานกับคู่รักของตัวเองคือเป้าหมายหรือความฝันที่สำคัญของชีวิต แต่เวลาเปลี่ยน สังคมเปลี่ยน วิถีชีวิตและค่านิยมของคนรุ่นใหม่ก็เปลี่ยนไป
“การเงินและความรัก” ความสัมพันธ์จะดี อยู่ที่เงินตราจริงหรือ?
สมัยก่อนเราคงเคยได้ยินคำว่า “กัดก้อนเกลือกิน” ใช่ไหมครับ คือความรักในรูปแบบที่ว่าถึงแม้ยากลำบากแต่ขอให้มีคนรักเราจริงก็สามารถฟาฝ่าอุปสรรคไปได้ แต่พอยุคสมัยมันเปลี่ยนไปเราอาจจะรู้สึกว่าเคสแบบนี้เกิดขึ้นน้อยลงเพราะอะไร?
“ค่าสินสอด” ยังจำเป็นในยุคนี้ไหม?
ไม่ว่าจะผ่านไปกี่ยุคกี่สมัย ปัญหาเรื่องค่าสินสอดระหว่างคู่รัก ก็ยังคงเป็นเรื่องที่หลายคนถกเถียงกัน ไม่ว่าจะเป็นควรให้เท่าไหร่ จ่ายแค่ไหนถึงพอดี รวมไปถึงเริ่มตั้งคำถามอีกด้วยว่าในยุคนี้ค่าสินสอดยังมีความจำเป็นอยู่อีกไหม?
ครองโสด vs ครองคู่แบบไหนประหยัดกว่า?อะไรคือราคาที่คนโสดต้องจ่าย?
เรามักจะมองว่า คนที่มีครอบครัวจะมีภาระค่าใช้จ่ายสูง เช่น ค่าผ่อนบ้าน ค่าผ่อนรถ ค่าเทอมลูก ฯลฯ แตกต่างจากคนโสดที่มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า และมีอิสระทางการเงินมากกว่า แต่จริงๆ แล้วอาจไม่ใช่อย่างนั้นครับ เพราะหน่วยงานวิเคราะห์เศรษฐกิจและธุรกิจภายใต้ธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB EIC) ระบุว่า “คนโสดมีราคาที่ต้องจ่ายมากกว่าที่คิด” อย่างน้อยก็ 5 ข้อต่อไปนี้ล่ะ มาดูกันว่ามีอะไรบ้าง
“เรื่องเงินต้องมาก่อน” คนรุ่นใหม่ไม่สนแต่งงาน แต่มีความรักได้
ในสมัยก่อนการแต่งงานเป็นเรื่องที่แทบจะทุกครอบครัวให้ความสำคัญมาก ถ้าจะไปใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันฉันท์สามีภรรยา ก็ต้องมีการแต่งงานก่อน เพื่อให้เป็นเกียรติแก่ครอบครัวและตัวฝ่ายหญิง รวมไปถึงเป็นการประกาศอย่างเป็นทางการต่อผู้อื่นว่า “เรากับคนรัก” ได้ตัดสินใจใช้ชีวิตคู่ร่วมกันแล้ว
มีคู่ทั้งที เอาไงดีกับ “ทะเบียนสมรส” จด หรือ ไม่จด เมื่อสถิติเผย อัตราการหย่าร้างเกือบครึ่ง
การจดทะเบียนสมรสนั้นนอกจากจะเป็นเรื่องของคน 2 คนสมัครใจใช้ชีวิตด้วยกัน ยังเป็นเรื่องของกฎหมายด้วยเช่นกัน ดังนั้นเมื่อจะตัดสินใจแยกกัน จึงต้องดำเนินการจดทะเบียนหย่าตามกฎหมาย จะโดยสมัครใจหรือดำเนินการทางศาลก็แล้วแต่คู่ใครคู่มัน ดังนั้น เมื่อคิดจะจดทะเบียนสมรสจึงต้องพิจารณาผลทางกฎหมายให้ดีๆ
5 กลยุทธ์วางแผนแต่งงานและการเงินสำหรับคู่รัก
เมื่อความรักของคู่รักสองคนเริ่มสุกงอมและยินยอมพร้อมใจทั้งชายและหญิงเข้าสู่ประตูวิวาห์ สิ่งสำคัญนอกจากความรักที่สุขงอมและลิสต์เพลงงานแต่งงานที่เจ้าบ่าวและเจ้าสาวต้องเตรียมให้พร้อม นั่นคือ “ความพร้อมทางด้านการเงิน”
คนรุ่นใหม่มอง “การแต่งงานไม่ใช่สิ่งสำคัญ แต่ก็ไม่ปฏิเสธการมีคนรัก ถ้าจะมีลูก…ก็ต้องมีเงิน”
ในสมัยก่อนการแต่งงานเป็นเรื่องที่แทบจะทุกครอบครัวให้ความสำคัญมาก ถ้าจะไปใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันฉันท์สามีภรรยา ก็ต้องมีการแต่งงานก่อน เพื่อให้เป็นเกียรติแก่ครอบครัวและตัวฝ่ายหญิง รวมไปถึงเป็นการประกาศอย่างเป็นทางการต่อผู้อื่นว่า “เรากับคนรัก” ได้ตัดสินใจใช้ชีวิตคู่ร่วมกันแล้ว
กระแสการใช้ชีวิตของคนยุคใหม่ “DINKWAD” คู่รักทำงานเลือกที่จะไม่มีลูกแต่มีน้องหมาแทน
“DINKWAD” ซึ่งย่อมาจาก “Double Income, No Kids, With a Dog” ที่แปลว่า “คู่รักทำงานเลือกที่จะไม่มีลูกแต่มีน้องหมาแทน” นั่นเอง ซึ่งตอนนี้มีคู่รักหลายคู่ที่ออกมาประกาศตัวเลยว่าเป็น DINKWAD อย่างภาคภูมิใจ
“เสียใจที่ไม่มี ดีกว่าเสียใจที่มี” : สถิติชี้ชัด ผู้หญิงโสดไม่มีลูก ‘รวยกว่า’ ผู้ชายโสดที่มีหรือไม่มีลูกก็ตาม
เธอก็รู้สึกว่าทางเลือกนี้ชีวิตก็ไม่ได้ขาดตกบกพร่องอะไร นอกจากนั้นแล้วสถิติตัวเลขจากธนาคารกลางสหรัฐก็บอกเช่นกันว่า ผู้หญิงโสดไม่มีลูกนั้นโดยเฉลี่ยแล้ว ‘รวยกว่า’ ผู้หญิงโสดที่มีลูก (คุณแม่เลี้ยงเดี่ยว) และทั้งผู้ชายโสดที่ทั้งมีและไม่มีลูกด้วย
“แต่งงาน VS โสด” แบบไหนดีกว่ากัน?
วันนี้แอดมินเลยนำข้อมูลตัวเลขรายได้และค่าใช้จ่ายเปรียบเทียบระหว่างคนสองคนที่ “แต่งงาน VS โสด” แล้ว มาแชร์ให้เพื่อนๆ อ่านกันดูครับ
“เงินสินสอด” ปัญหาโลกแตกของคนคิดจะแต่งงาน คำนวณยังไงดีให้ไม่เป็นหนี้และคู่รักต้องเลิกกัน
“เงินสินสอด” 80 สิบล้านที่ทำให้ความรักของหนุ่มสาวคนดังสั่นคลอนจนต้องเลิกราต่อกัน พาดหัวข่าวบันเทิงนี้ นับเป็นประเด็นร้อนฉ่าที่ใครหลายคนต่างพูดถึง