Latest Posts
วางแผนการเงินดีแค่ไหนก็พังได้ ถ้ายังขาดสิ่งนี้!
“แผนการเงิน ไม่มีไม่ได้” เพราะรายรับของเราไม่ได้เข้ามาตลอด ต่างกับรายจ่ายที่ต้องมีทุกวัน ดังนั้นชีวิตของเราจึงจำเป็นต้องวางแผนการเงิน เพื่อบริหารรายได้ให้เพียงพอกับรายจ่าย จะได้มีเงินเหลือไว้ใช้ยามฉุกเฉิน รวมไปถึงการใช้ชีวิตสบายๆ หลังเกษียณนั่นเอง
วางแผนการเงิน “ตามพฤติกรรม” ด้วยการแบ่งคนเป็น 9 ประเภท ตามศาสตร์นพลักษณ์ (Enneagram)
Enneagram หรือ นพลักษณ์ คือ ศาสตร์เพื่อเข้าใจตนเองและผู้อื่น ซึ่งจะแบ่งคนออกเป็น 9 ประเภท โดยที่แต่ละประเภทจะมีพฤติกรรม แรงจูงใจในการใช้ชีวิตหรือมุมมองที่มีต่อโลกแตกต่างกันออกไป เป็นเครื่องมือที่ดีมากในการทำให้รู้จุดแข็ง จุดอ่อน เพื่อนำมาหาวิธีการจัดการเงินเพื่อให้บรรลุเป้าหมายทางการเงินที่เหมาะกับตนเอง
“คุณภาพชีวิตที่ดีกว่า ซื้อได้ด้วยเงิน?” เรื่องจริงที่เราไม่อยากยอมรับ
คำว่า “คุณภาพชีวิต” ในความหมายของแต่ละคนอาจจะแตกต่างกัน บางคนมองว่าการมีคุณภาพชีวิตที่ดี คือ การใช้ชีวิตอยู่แบบหรูหรา บ้านหลังใหญ่ ทานของแพงใช้ของแพง
ประกันชีวิตแบบไหน “ใช้ลดหย่อนภาษีได้บ้าง” เหมาะกับใคร? ทำแบบไหนคุ้มที่สุด?
“ประกันชีวิต” และ “ประกันสุขภาพ” คือเครื่องมือที่ช่วยวางแผนการเงินได้อย่างยอดเยี่ยม เพราะนอกจากจะปิดความเสี่ยงจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันแล้ว ยังสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้อีกด้วย เรามาดูกันว่าประกันแบบไหนใช้ลดหย่อนภาษีได้บ้าง? เหมาะกับใคร? แล้วทำแบบไหนคุ้มที่สุด?
6 หลักคิดของ ‘Steve Adcock’ พนักงานประจำที่เก็บเงิน 70% จนเกษียณในวัย 35 ปี ด้วยเงินกว่า 30 ล้านบาท
ในวัย 35 ปี สตีฟ แอดค็อก (Steve Adcock) ได้เดินทางมาถึงเป้าหมายอิสรภาพทางการเงินที่ตั้งใจเอาไว้ด้วยเงินเก็บราว ๆ 35 ล้านบาท บ้านไม่ได้รวย และที่สำคัญคือเป็นพนักงานประจำเหมือนกับคนปกติทั่วไปนั่นแหละ
เราจะไม่จนลง เพราะ “เบี้ยประกัน” แต่จะจนลง เพราะ “ค่ารักษาพยาบาล” ถ้าไม่รู้จักการทำประกัน
ปัจจุบันยังมีคำถามว่า “จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องมีประกันชีวิตและประกันสุขภาพ” ในความคิดเห็นของผู้เขียนให้ความสำคัญกับการทำทุนประกันชีวิตและประกันสุขภาพเท่าเทียมกัน โดยเฉพาะเจ้าของธุรกิจซึ่งไม่มีสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล และประกันสังคม ดังนั้น สิ่งที่ต้องเตรียมคือแผนประกันชีวิต และประกันสุขภาพ
อยากได้แต่ซื้อไม่ไหว เหตุผลที่ทำไมตอนนี้ Gen Z และ Millennials ถึงไม่ได้เป็นเจ้าของบ้านเหมือนสมัยก่อน
74% ของคนที่มาตอบก็บอกว่าการมีบ้านนั้นยังถือว่าเป็นความฝันของพวกเขาอยู่ มากกว่าการเกษียณ (66%), ความสำเร็จในหน้าที่การงาน (60%) หรือการมีลูก (40%) ซะอีก
คุณมีชีวิตที่ ’ร่ำรวย’ ได้และไม่จำเป็นต้องเหมือนกัน : 5 บทเรียนจากซีรีส์การเงิน ‘How to Get Rich’ บน Netflix จาก รามิตร เศรษฐี
“เมื่อได้ยินคำว่า ‘ร่ำรวย’ คุณคิดถึงอะไร?” รามิตร เศรษฐี ผู้เขียนหนังสือขายดี “ผมจะสอนให้คุณรวย” ชวนคุณมาตอบคำถามนี้บนซีรีส์ “How to Get Rich”
15 นิสัยทางการเงินสุดประหยัดของ ‘วอร์เรน บัฟเฟตต์’ ที่เราก็นำมาปรับใช้ในชีวิตได้เช่นกัน
นอกจากความสามารถในการเลือกลงทุนของเขาแล้ว นิสัยทางการเงินแบบสุดแสนประหยัด ใช้จ่ายเท่าที่จำเป็นคือตัวอย่างที่ดีของบัฟเฟตต์เช่นเดียวกัน
“ที่ Berkshire เราไม่มีเส้นชัย” สรุปเนื้อหาสำคัญของจดหมายผู้ถือหุ้น Berkshire Harthaway 2022 จาก วอร์เรน บัฟเฟตต์
ผลลัพธ์ที่น่าพอใจของเราเป็นผลมาจากการตัดสินใจที่ดีจริง ๆ ประมาณหนึ่งโหล – ซึ่งจะประมาณหนึ่งครั้งทุก ๆ ห้าปี – และนี่คือข้อได้เปรียบซึ่งเป็นประโยชน์ต่อนักลงทุนระยะยาวอย่าง Berkshire ที่บางครั้งถูกลืม ลองมาดูหลังม่านกันดีกว่าว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง
‘หมดตัวถึงขั้นต้องยืมเงินพ่อ’ : 3 บทเรียนจากการตัดสินใจที่ล้มเหลวของ Ray Dalio ผู้ก่อตั้ง Bridgewater เฮดจ์ฟันด์ใหญ่ที่สุดในโลก
เรย์ เดลิโอ (Ray Dalio) ต้องเผชิญกับความล้มเหลวอยู่บ่อยครั้ง แต่ประสบการณ์เหล่านั้นก็ช่วยทำให้เขาเรียนรู้หลักการในการใช้ชีวิต ทำงาน และ การลงทุนต่าง ๆ มากมาย (จนเป็นหนังสือขายดีหลายเล่มเลย) เดลิโอได้แชร์ 3 หลักการจากหนังสือ “Principles for Success” ที่เขาเชื่อว่าจะช่วยเปลี่ยนแปลงชีวิตของเราได้
5 เทคนิคการสร้าง ‘นิสัยการเงินที่ดี’ จากหนังสือ Atomic Habits
เป้าหมายทางการเงินไม่ได้แตกต่างจากเป้าหมายอื่น ๆ ในชีวิต มันจะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อเรามี ‘นิสัยทางการเงิน’ มาลองดู 5 เทคนิคจาก Atomic Habits กัน