Latest Posts
“ค่ารักษาพยาบาล” ไม่ใช่หน้าที่ ของ “เงินสำรองเผื่อฉุกเฉิน” แต่เป็นหน้าที่ของ “ประกันสุขภาพ”
การไม่มีโรคถือเป็นลาภอันประเสริฐ แต่ในความเป็นจริงแล้ว เกิด แก่ เจ็บ ตาย ถือเป็นสัจธรรมที่ทุกคนต้องเจอ เพียงแต่ปัญหาคือ “เราไม่รู้ว่ามันจะเกิดขึ้นวันไหน?”
เสียดายมั้ย? ถ้า “เงินเก็บ” ทั้งชีวิตต้องกลายเป็น “ค่ารักษาพยาบาล”
ในช่วงนี้ ปัญหาเรื่องของฝุ่น PM 2.5 ได้กลับมาถูกพูดถึงอีกครั้ง และเชื่อว่า แต่ละคนคงเริ่มได้รับผลกระทบจากฝุ่นพิษนี้กันถ้วนหน้า
ป่วยปุ๊บปั๊บ = ความเสี่ยง เหตุการณ์สุขภาพที่เดาไม่ได้ แต่เตรียมพร้อมด้วย “ประกัน” ได้
วันนี้สุขภาพแข็ง แต่วันข้างหน้าเราไม่สามารถรู้ได้เลยว่าเราจะยังแข็งแรงได้แบบนี้อยู่รึเปล่า ทุกวันนี้เราจะได้ข่าวคนที่มีชีวิตอยู่อย่างยากลำบาก เพราะไม่มีเงินสำหรับค่ารักษาพยาบาล หรือเสียชีวิตด้วยโรคร้ายแรงอย่างกันมากขึ้น วันนี้เรามาคุยกันเกี่ยวกับประกันคุ้มครองโรคร้ายแรงที่เป็นทางเลือกสำหรับการบรรเทาปัญหาหากเราเป็นโรคร้ายแรงกัน
วางแผนการทำประกัน ด้วยหลัก Asset Allocation ได้ทั้ง ‘คุ้มครองความเสี่ยง’ และ ‘กระจายความเสี่ยง’
ในปัจจุบันผลิตภัณฑ์ประกันภัย ได้รับการยอมรับมากขึ้น มีการทำประกันเพิ่มมากขึ้นตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ไม่ว่าจะเพื่อความคุ้มครอง เพื่อเป็นค่ารักษาพยาบาล หรือไว้เพื่อเป็นแหล่งเก็บออมเงินโดยซื้อประกันชนิดสะสมทรัพย์ (Endowment / Saving Insurance)
วิธีเลือก “ประกันสุขภาพ” ตัวแรกให้เหมาะกับ “มนุษย์เงินเดือน”
เชื่อว่าจากสถานการณ์ในช่วงนี้ เพื่อนๆ หลายคนน่าจะตระหนักถึงความสำคัญของประกันสุขภาพกันเพิ่มขึ้นเป็นเท่าตัวเลยใช่ไหมครับ วันนี้ aomMONEY ขออาสาพาทุกคนไปทำความเข้าใจเกี่ยวกับประกันสุขภาพ รวมถึง “วิธีเลือกซื้อประกันสุขภาพ” ตัวแรกสำหรับมนุษย์เงินเดือนทุกคนครับ ก่อนจะซื้อ..ต้องรู้จักประกันสุขภาพแต่ละประเภทก่อน
“ป่วยเป็นโรคเรื้อรัง” ทำประกันสุขภาพไม่ได้ มีทางเลือกอะไรบ้าง?
“ถ้าป่วยเป็นโรคเรื้อรัง (กรณีเป็นแล้ว) จะสามารถป้องกันความเสี่ยงด้วยวิธีไหนได้บ้าง เพราะไม่สามารถทำประกันใดๆ ได้แล้ว”
โรคร้ายแรง (อาจ) รักษาหาย แต่เงิน (อาจ) มลายหายเกลี้ยง ถ้าไม่รู้จักคำว่า “ทำประกัน”
ถ้าให้ยกตัวอย่างชื่อโรคร้ายแรงมาสักหนึ่งชื่อ หลายท่านอาจจะนึกถึงโรคมะเร็ง มาเป็นอันดับต้น ๆ แต่ในปัจจุบันมีโรคร้ายแรงอีกมากมาย บางชื่อโรคก็คุ้นหูหรือไม่เคยได้ยินมาก่อน ที่สำคัญโรคร้ายแรงบางโรคอาจรักษาหายในเวลาไม่นาน แต่บางโรคอาจจะต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง ค่ารักษารวมทั้งหมดอาจเป็นหลักแสนหรือทะลุหลักล้านบาท
ทำไมการซื้อ “ประกันสุขภาพ” ถึงเป็น “ความฉลาด” ทางการเงิน?
หลายคนคิดว่า การทำประกันสุขภาพนั้นไม่คุ้ม เพราะถ้าไม่ป่วยก็จะไม่ได้ใช้ เท่ากับว่าเสียเงินทิ้งไปเปล่าๆ แต่จริงๆ แล้ว การซื้อประกันสุขภาพก็ถือว่าเป็น “ความฉลาดทางการเงิน” อย่างหนึ่งด้วย เพราะอะไรไปดูกันครับ
ประกันสุขภาพ แบบมี OPD คืออะไร? ถ้ามีประกันสังคมอยู่แล้ว ควรทำเพิ่มไหม?
การทำประกันสุขภาพจึงเป็นสิ่งที่ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่าย ไม่ว่าจะจากการเจ็บป่วย หรืออุบัติเหตุก็ตาม แต่ก่อนจะเลือกซื้อประกันสุขภาพได้ ก็มี 2 คำที่เราควรรู้จัก นั่นคือ “OPD” และ “IPD” มันหมายความว่าอะไรกันนะ?
ประกันสุขภาพ “มีไว้” แต่ไม่ได้ใช้ ดีกว่าต้องใช้ “แต่ดันไม่มี!”
หลายคนคิดว่า แผนการเงินที่ประสบความสำเร็จ คือการ “ออมให้ได้เยอะๆ” และ “ลงทุนให้ได้กำไรมากที่สุด” แต่จริงๆ แล้วนั่นอาจไม่ใช่แผนการเงินที่มั่นคง เพราะยังขาดสิ่งสำคัญที่สุด นั่นคือการ “ปิดความเสี่ยง” ด้านสุขภาพ ซึ่งอาจเป็นรอยรั่วขนาดใหญ่ของการเงินในอนาคต
ถ้ามีประกันสังคมอยู่แล้ว “ประกันสุขภาพ” จำเป็นต้องซื้อหรือไม่?
หลายคนอาจจะมองว่า การทำประกันสุขภาพนั้นเป็นค่าใช้จ่ายที่สิ้นเปลืองและไม่จำเป็น เพราะมีประกันสังคมที่รักษาได้แทบจะครอบคลุมแล้ว จริงๆ การคิดแบบนี้ก็ไม่ใช่เรื่องที่ผิดแต่อย่างใดครับ เพราะประกันสังคมก็คุ้มครองทั้งกรณีเป็นผู้ป่วยใน (แอดมิด) และ ผู้ป่วยนอก (รักษาแบบไม่นอนพัก)
ยังโชคดี…ที่ผมยังมีเวลา ได้ซื้อประกันชีวิต บทเรียนจากคน(คิดว่า)สุขภาพดี
วางแผนการซื้อประกันชีวิตไม่รอบคอบ = ภาระทั้งตัวเองและลูกหลานในอนาคต