Latest Posts
รู้หรือไม่? เกิดเป็นผู้หญิงต้องเจอค่าใช้จ่าย “แพงกว่า” ผู้ชายถึง 7%
ถ้าผมบอกเพื่อนๆ ว่า การเกิดเป็นผู้หญิงทำให้คุณต้องซื้อของแพงมากกว่าผู้ชายเฉลี่ยถึง 7% เพื่อนๆ จะเชื่อกันไหมครับ ถึงจะไม่อยากเชื่อ เพราะใครๆ ก็บอกว่านี่คือยุคแห่งความเท่าเทียมระหว่างชายหญิง แต่ก็ต้องยอมรับว่าครับว่า “มันเป็นเรื่องจริง”
“มีแต่ดี ไม่มีเสีย”ทำไม? ควรวางแผนภาษีให้สำเร็จตั้งแต่ต้นปี
หลายคนมักคิดว่าการจัดการภาษีเป็นเรื่องที่สามารถทำเมื่อไรก็ได้ เพียงแค่จัดการให้ทันภายในสิ้นปีของทุกๆ ปี ส่วนจะจัดการอย่างไร จะลดหย่อนด้วยสินค้าทางการเงินอะไร เป็นปริมาณเท่าไร ขึ้นอยู่กับกระแสเงินสดในช่วงนั้นๆ หรือบางคนมีการจัดการที่ดีขึ้นอีกขั้น เตรียมจัดสรรเงินส่วนหนึ่งไว้สำหรับการซื้อสินค้าทางการเงินเพื่อการลดหย่อนภาษี
งานวิจัยบอกว่าเมื่อคนรวยบริจาคเงินเพื่อช่วยแก้ไขความไม่เท่าเทียมทางสังคม คนที่ได้ประโยชน์อาจจะเป็นตัวเองซะมากกว่า
การบริจาคเงินเพื่อการกุศลและการช่วยสังคมจากอภิมหาเศรษฐีช่วยแก้ไขความไม่เท่าเทียมทางสังคมได้จริงหรือ? “ไม่เท่าไหร่” นั่นคือคำตอบถ้าอ้างอิงจากการศึกษาชิ้นใหม่ของนักวิจัยจากมหาวิทยาลัย บาธ
ประหยัดอะไรไม่สู้ “ประหยัดภาษี”3 เรื่องคู่รักต้องรู้ ก่อนยื่นภาษีเงินได้
หลายคู่รักที่จดทะเบียนสมรสกันแล้ว นอกจากเรื่อง ชีวิตความเป็นอยู่ การหารายได้ การสร้างอนาคตครอบครัวที่ต้องคิดและทำร่วมกันแล้ว ยังมีเรื่องที่สำคัญมากๆ อีกหนึ่งเรื่องที่ต้องจัดการให้ดี นั่นก็คือ “การวางแผนภาษี” เพื่อให้คู่เราเสียภาษีได้น้อยที่สุดนั่นเอง
นับเวลาถอยหลังวางแผนภาษี 5 เดือน ทำยังไงให้เสียภาษีน้อยลง
แป๊บๆ ผ่านไป 7 เดือนแล้ว เหลือเวลาอีก 5 เดือนสำหรับการหารายได้สำหรับปีนี้ และก็เหลือ 5 เดือนสำหรับการวางแผนภาษีเงินได้เช่นกัน
“ยื่นภาษีผิด ชีวิตเปลี่ยน”เคลียร์ให้ชัด รายได้-ค่าใช้จ่ายถ้าอยากประหยัดภาษีมีเงืนคืน
ในยุคสมัยที่โลกมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ก็จะมีอาชีพใหม่ๆ เกิดขึ้นตลอดเวลา หลายครั้งผู้มีเงินได้อาจเริ่มสับสนว่าแต่ละอาชีพต้องยื่นภาษีแบบไหน หักค่าใช้จ่ายอย่างไร และวิธีการใดที่ทำให้ประหยัดภาษีได้มากที่สุด ในเบื้องต้นผู้มีเงินได้จำเป็นต้องมีความรู้ในเรื่องการ แบ่งแยกประเภทของเงินได้ก่อน เพื่อที่จะสามารถวางแผนการประหยัดภาษีได้อย่างถูกต้องต่อไป
เหตุผลที่คนทิ้งมรดกไว้ข้างหลังที่ไม่ใช่แค่รักลูกหลาน และ การเก็บภาษีทรัพย์สินคนตายเพื่อลดช่องว่างของความเหลื่อมล้ำในสังคม
ทรัพย์สินที่คนเราทิ้งไว้หลังความตายสะท้อนถึงความสามารถในการหารายได้ พฤติกรรมการใช้จ่าย ตลอดจนการวางแผนการออมและการลงทุนในช่วงที่ยังมีชีวิตอยู่
ที่ใดมี “ภาษี” ที่นั่นควร “วางแผน” | “lose it or use it” การวางแผนภาษี เรื่องที่โรงเรียนไม่เคยสอน
ผ่านเส้นตายยื่นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2565 กันไปแล้ว เข้าสู่เส้นทางของภาษีปี 2566 ที่ผ่านมาเห็นข่าวตามโซเชียลฯ หลายคนร้องจ๊าก ไม่ใช่แค่ค่าไฟแพง ยังต้องเสียภาษีแพงอีกด้วย ทำนองรายได้ยังหายาก กลับโดนซ้ำเติมด้วยค่าใช้จ่ายที่แพงมากด้วย ค่าไฟเราลดใช้ไฟ ก็พอยังลดได้บ้าง แต่ภาษี ให้เราลดรายได้ เราคงไม่ยอม งั้นทำยังไงดี
ทุกขลาภของมรดก เมื่อทายาทได้มรดก แต่ไม่มีเงินจ่ายภาษี
แม้ว่าการพรากจากบุคคลอันเป็นที่รักในครอบครัว จะนำมาซึ่งความเศร้าโศก แต่บางครั้งการได้รับมรดกจากผู้ล่วงลับ อาจสร้างความทุกข์ใจได้ จึงควรศึกษาข้อกฎหมาย เพื่อเตรียมส่งต่อทรัพย์สินให้กับทายาทหรือผู้สืบสันดานไปพร้อมกับความสุขและความสบายใจ
ตัวตายแต่ “ภาษี” ไม่ตายตาม ถ้า “มรดก” คือ สิ่งที่ต้องได้ “ภาษี” ก็คือ สิ่งที่ต้องจ่าย
ปัจจุบันยังมีความเข้าใจผิดว่า เมื่อมีสมบัติไม่มาก หรือมีไม่ถึงเกณฑ์ต้องเสียภาษีการรับมรดก การส่งต่อก็ไม่จำเป็นต้องวางแผน แต่ความจริงแล้ว หลังจากที่เจ้ามรดกเสียชีวิต นอกจากเรื่องการแบ่งกองมรดกให้ทายาทโดยชอบธรรมแล้ว ก็ยังมีเรื่องค่าใช้จ่ายอื่น ๆ อีก
ประกันชีวิตแบบไหน “ใช้ลดหย่อนภาษีได้บ้าง” เหมาะกับใคร? ทำแบบไหนคุ้มที่สุด?
“ประกันชีวิต” และ “ประกันสุขภาพ” คือเครื่องมือที่ช่วยวางแผนการเงินได้อย่างยอดเยี่ยม เพราะนอกจากจะปิดความเสี่ยงจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันแล้ว ยังสามารถนำไปลดหย่อนภาษีได้อีกด้วย เรามาดูกันว่าประกันแบบไหนใช้ลดหย่อนภาษีได้บ้าง? เหมาะกับใคร? แล้วทำแบบไหนคุ้มที่สุด?
มหาเศรษฐีเป็นผลบวกหรือผลลบต่อสังคมกันแน่?
ถ้าถามความเห็นคนส่วนใหญ่ว่าเศรษฐีผู้ร่ำรวยเหล่านี้สร้างผลบวกหรือผลลบต่อสังคมที่อยู่มากขนาดไหน เมื่อก่อนคำตอบที่เราจะได้คือ ‘ไม่ดีไม่แย่’ หรือมองคนร่ำรวยมหาศาลอย่างกลาง ๆ แต่หลังจากช่วงปี 2020 เป็นต้นมา มุมมองเกี่ยวกับคนที่ร่ำรวยมาก ๆ เริ่มเปลี่ยนไปกลายเป็นลบมากยิ่งขึ้น