Latest Posts
“แผนเกษียณ” ไม่หลงทิศ ต้องวางแผนที่ชีวิตให้เป็น รวม 4 ตัวเลขทางการเงิน ที่คนเตรียมตัวเกษียณต้องรู้!
แม้ว่าจะวางแผนการเงินอย่างรัดกุมก่อนถึงวันเกษียณ แต่หลังจากเกษียณไปแล้วก็ต้องวางแผนการเงินต่อไป ต้องจัดการรายได้ รายจ่าย หรือวางการลงทุนให้เหมาะสม และเพื่อให้ “เงิน” ที่เก็บมาตลอดช่วงวัยทำงาน มีเพียงพอกับการใช้จ่ายไปจนถึงบั้นปลายชีวิต อาจเริ่มต้นบริหารจากตัวเลข ดังนี้
อยากมีความสุขในชีวิต ผู้เชี่ยวชาญด้านการเงินแนะวางแผนการเงินแล้ว อย่าลืมเก็บ ’เงินก้อนสำหรับโอกาสดีๆ’ ให้ตัวเองด้วย
เป้าหมายทางการเงินสำหรับเก็บออมของเรามักถูกแบ่งออกเป็นสองก้อนใหญ่ๆ ก้อนแรกคือเงินสำรองฉุกเฉินเผื่อเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝันในอนาคตระยะสั้น ส่วนอีกก้อนคือเงินสำหรับการเกษียณในอีกหลายสิบปีข้างหน้า
อายุ 60 คุณต้องมีเงินเก็บเท่าไร? กรณีไม่อยากทำงาน อยู่บ้านเฉยๆ
“ชีวิตหลังเกษียณ อาจน่ากลัวกว่าชีวิตหลังความตาย ถ้าไม่มีเงิน” ประโยคนี้นับว่าเป็นสิ่งที่สร้างความกลัวให้กับใครหลายคนอย่างมากครับ เพราะเราไม่สามารถรู้อนาคตล่วงหน้าได้เลยว่าจะเกิดอะไรขึ้นบ้าง การเก็บเงินไว้ใช้ยามบั้นปลายจึงน่าจะปลอดภัยที่สุด
“หุ้น-ราคา-ผู้อื่น” 3 เรื่องต้องรู้ ถ้าอยากรวยด้วยการลงทุนในหุ้น โดย ไม้เฟือง พะเนียง พงษธา นักลงทุนหุ้นสายเน้นคุณค่า VI
“อยากรวยด้วยหุ้น เริ่มจากศูนย์ ก็รวยได้” รู้จัก “คุณไม้เฟือง พะเนียง พงษธา” นักลงทุนหุ้นสายเน้นคุณค่า ที่ใช้ความไม่มี เป็นแรงขับเคลื่อนสู่การเป็น VI อายุน้อยที่ประสบความสำเร็จ ด้วยหลักที่ต้องเข้าใจ “3 เรื่อง”
“รวยแล้ว = สำเร็จ” จริงหรือ!? 6 บทเรียนสอนรวยจากการลงทุน โดย เบส กิตติศักดิ์ คงคา เจ้าของเพจ ลงทุนศาสตร์
“เมื่อโจทย์การใช้ชีวิตให้มาต่างกัน ต้นทุนของชีวิตไม่เท่ากัน และถ้าคุณคือคนที่เกิดมาในครอบครัวที่มีฐานะร่ำรวย อะไรคือบทพิสูจน์ความสำเร็จในชีวิตของคุณกันครับ? ชวนอ่าน บทสรุป 6 ข้อ พิสูจน์ตัวเองด้วยความสำเร็จจากการลงทุน โดย เบส กิตติศักดิ์ คงคา เจ้าของเพจ ลงทุนศาสตร์
3 บทเรียนจากประสบการณ์ตรง กว่าจะมี “Financial Freedom” โดย คุณเชาว์ เฉลิมเดช ลีวงศ์เจริญ จากงาน “วิถีแห่ง VI” THAI VI 20 YEARS ANNIVERSARY
สำหรับใครที่เห็นนักลงทุนหรือใครก็ตามที่มี “Financial Freedom” แล้วชีวิตดูสุขสบาย หยุดมองภาพความสำเร็จเหล่านั้นก่อนครับ เพราะกว่าจะเดินทางมาถึงจุดนี้ได้ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยจริงๆ ชวนอ่าน 3 บทเรียนจากประสบการณ์ตรง ก่อนมี “Financial Freedom” ต้องผ่านอะไรมาบ้าง? โดย “เชาว์ เฉลิมเดช ลีวงศ์เจริญ” นายกสมาคมนักลงทุนเน้นคุณค่า (ประเทศไทย) ครับ
คุ้มแค่ไหน? เมื่อ กอช. อัปเกรด“จ่ายหลักพัน ได้บำนาญหลักหมื่น”สูงสุด 12,000 บาทต่อเดือน
“ข้าราชการ” มีกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.)
“มนุษย์เงินเดือน” มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (PVD) และ ม.33 แล้ว อาชีพอิสระ พ่อค้า แม่ขาย มีกองทุนอะไรมั้ย ที่สามารถเก็บเงิน และขอรับเป็น “บำนาญ” ได้เหมือนกับอาชีพอื่นๆ ?
“คนฉลาดใช้ชีวิต จะรู้จักการวางแผนการเงิน?”
ความเป็นจริงเดียวบนโลกนี้ที่เราทุกคนปฏิเสธไม่ได้เลยนะครับว่าเราทุกคนอยากมีเงินใช้อยากอยู่อย่างสุขสบายไม่มีใครอยากเจอความลำบากหรือต้องทำงานไปตลอดชีวิต แต่ทั้งหมดนี้จะเป็นจริงได้ ปัจจัยที่สำคัญเลย คือ เราต้องมีการวางแผนการเงินที่ดีมากๆ หรือมีเงินเก็บจำนวนที่มากพอ ซึ่งเป็นเรื่องที่คิดว่าทุกคนรู้ครับ แต่การจะทำได้จริงนั้น เป็นเรื่องยากเหลือเกิน แต่ถึงยาก เราทุกคนก็ต้องลงมือทำอยู่ดี
“เก้าอี้ทางการเงิน” สร้างความมั่งคั่งที่มั่นคง ด้วยหลัก 4 ขา 1 พนักพิง จากแนวคิด Financial Chair
ความมั่งคั่งที่มั่นคงถือเป็นความฝันอันสูงสุดของใครหลายๆ คน เพราะไม่เพียงแค่นำมาซึ่งอิสรภาพทางการเงินเท่านั้น แต่ก็ยังหมายรวมไปถึงความสบายใจ ไม่ต้องคอยห่วงหน้าพะวงหลังด้วย
“ออมแค่ 1% ของเงินเดือน ก็ยังดีกว่าไม่ออมเลย” เปิดเหตุผล แม้เงินน้อย ก็ควรเก็บออมทุกเดือน
หากมองย้อนไปช่วงก่อนโควิดระบาด ในปี 2562 ศูนย์วิเคราะห์เศรษฐกิจ ธนาคารทหารไทย (TMB Analytics) ระบุผลสำรวจจากคนไทยผู้ประกอบอาชีพ จำนวน 35 ล้านคน พบว่า ราว 80% มีเงินออมสำรองฉุกเฉินไม่พอใช้สำหรับ 6 เดือน โดยเกือบครึ่งหนึ่งเลือกที่จะ “ใช้เงินก่อน แล้วค่อยออม” ส่วนอีก 13% คิดว่า “ยังไม่ต้องออมก็ได้”
ความรู้การเงินคือเครื่องมือสู่อิสรภาพในการใช้ชีวิต – กิตติศักดิ์ คงคา เจ้าของเพจลงทุนศาสตร์ กับหนังสือเล่มใหม่ ‘ยอดคนเงินเหลือ’
‘เงิน’ เป็นสิ่งที่เราทุกคนคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี เพราะไม่ว่าจะดีหรือร้าย ชอบหรือไม่ โลกก็ยังคงขับเคลื่อนและหมุนไปด้วยระบบทุนนิยมที่มีเงินเป็นเชื้อเพลิง
“คน(จะ)รวย” ต้องรู้จัก “วางแผนการเงิน” ก่อนเราจะมีเงินใช้ไปตลอด เราต้องทำสถานะการเงินให้ดีก่อน
ความเป็นจริงเดียวบนโลกนี้ที่เราทุกคนปฏิเสธไม่ได้เลยนะครับว่าเราทุกคนอยากมีเงินใช้อยากอยู่อย่างสุขสบายไม่มีใครอยากเจอความลำบากหรือต้องทำงานไปตลอดชีวิต แต่ทั้งหมดนี้จะเป็นจริงได้ ปัจจัยที่สำคัญเลย คือ เราต้องมีการวางแผนการเงินที่ดีมากๆ หรือมีเงินเก็บจำนวนที่มากพอ ซึ่งเป็นเรื่องที่คิดว่าทุกคนรู้ครับ แต่การจะทำได้จริงนั้น เป็นเรื่องยากเหลือเกิน แต่ถึงยาก เราทุกคนก็ต้องลงมือทำอยู่ดี